วันเสาร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2562

บทที่3

บทความเกี่ยวกับเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
1.การสื่อสารไร้สาย (อังกฤษWireless communicationหมายถึงการถ่ายโอนข้อมูลสารสนเทศระหว่างจุดสองจุดหรือมากกว่า โดยไม่ได้เชื่อมต่อกันด้วยตัวนำไฟฟ้า
เทคโนโลยีไร้สายที่พบมากที่สุดใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่นคลื่นวิทยุ ซึ่งอาจใช้ในระยะทางสั้นๆไม่กี่เมตรสำหรับโทรทัศน์ หรือไกลเป็นล้านกิโลเมตรลึกเข้าไปในอวกาศสำหรับวิทยุ การสื่อสารไร้สายรวมถึงหลากหลายชนิดของการใช้งานอยู่กับที่เคลื่อนที่และแบบพกพา ได้แก่ วิทยุสองทางโทรศัพท์มือถือผู้ช่วยดิจิตอลส่วนตัว (personal digital assistants หรือ PDAs) และเครือข่ายไร้สาย ตัวอย่างอื่น ๆ ของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีวิทยุไร้สายรวมถึง GPS, รีโมตประตูโรงรถ เม้าส์คอมพิวเตอร์ไร้สายแป้นพิมพ์และชุดหูฟังไร้สายหูฟังไร้สายเครื่องรับวิทยุไร้สายโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมไร้สายเครื่องรับโทรทัศน์ทั่วไปและโทรศัพท์บ้านไร้สาย
2.LAN (อังกฤษLocal Area Network หรือ LAN) หรือ ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันทั้งหมดโดยอาศัยสื่อกลาง มีการแบ่งแยกเครือข่ายออกเป็น รูปแบบการเชื่อมโยงคือ การเชื่อมโยงภายในพื้นที่ระยะใกล้หรือ แลน (LAN) และการเชื่อมโยงระยะไกลหรือแวน (WAN) โดยการเชื่อมโยงเครือข่ายแบบแลน มี รูปแบบ คือ
1.        Bus มีการรับส่งข้อมูลด้วยความเร็ว 10-100 MB/sจะเชื่อมต่อกันบนสายสัญญาณเส้นเดียวกัน โดยจะมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า T-Connector เป็นตัวแปลงสัญญาณข้อมูลเพื่อนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์และ Terminator ในการปิดหัวท้ายของสายในระบบเครือข่ายเพื่อดูดซับข้อมูลไม่ให้เกิดการสะท้อนกลับของสัญญาณ
2.        Star เป็นระบบที่มีเป็นการต่อแบบรวมศูนย์ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต่อสายเข้าไปที่อุปกรณ์ที่เรียกว่า Hub หรือ Switch โดยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Hub หรือ Switch จะทำหน้าที่เปรียบศูนย์กลางที่ทำหน้าที่กระจายข้อมูล โดยข้อดีของการต่อในรูปแบบนี้คือ หากสายสัญญาณเกิดขาดในคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง เครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆจะสามารถใช้งานได้ปรกติ แต่หากศูนย์กลางคือ Hub หรือ Switch เกิดเสียจะทำให้ระบบทั้งระบบไม่สามารถทำงานได้ทั้งระบบ
3.        Ring เป็นระบบที่มีการส่งข้อมูลไปในทิศทางเดียวกัน โดยจะมีเครื่อง Server หรือ Switch ในการปล่อย Token เพื่อตรวจสอบว่ามีเครื่องคอมพิวเตอร์ใดต้องการส่งข้อมูลหรือไม่และระหว่างการส่งข้อมูลเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆที่ต้องการส่งข้อมูลจะต้องทำการรอให้ข้อมูลก่อนหน้านั้นถูกส่งให้สำเร็จเสียก่อน
ข้อดีของระบบ LAN
3.WAN หรือ ข่ายงานบริเวณกว้าง (อังกฤษWide area network หรือ WAN) คือ ข่ายงานที่อยู่ห่างไกลกันมาก อาจจะอยู่ระหว่างเมือง หรือระหว่างประเทศ เช่น การเชื่อมต่อเครือข่ายของสำนักงานสาขาย่อยเข้ากับเครือข่ายของสำนักงานใหญ่ที่อยู่ห่างกันไกล อาจจะอยู่กันคนละที่หรือคนละเมืองกัน แต่ติดต่อกันด้วยระบบการสื่อสารทางไกลความเร็วสูง หรือโดยการใช้การส่งสัญญาณ ผ่านดาวเทียมเพื่อเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ให้ติดต่อถึงกันได้ ข่ายงานแต่ละข่ายงานจะอยู่ห่างกันประมาณ ไมล์ซึ่งไกลกว่า ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ แลน ที่อาจอยู่ภายในอาคารหรือบริเวณมหาวิทยาลัยเดียวกัน แวนไร้สาย (wireless wide area network) ข่ายงานบริเวณกว้างไร้สาย
ใยแก้วนำแสง หรือ ออปติกไฟเบอร์ หรือ ไฟเบอร์ออปติก เป็นแก้วหรือพลาสติกคุณภาพสูง ยืดหยุ่นโค้งงอได้ เส้นผ่าศูนย์กลางเพียง 8-10 ไมครอน (10 ไมครอน = 10 ในล้านส่วน
ของเมตร =10x10^-6=0.00001 เมตร = 0.01 มม.) เล็กกว่าเส้นผมที่มีขนาด 40-120 ไมครอนกระดาษ 100 ไมครอน ใยแก้วนำแสงทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการส่งแสงจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง ด้วยความเร็วเกือบเท่าแสง เมื่อนำมาใช้ในการสื่อสารโทรคมนาคม ทำให้สามารถส่ง-รับข้อมูลได้เร็วมาก ได้ระยะทางได้เกิน 100 กม.ในหนึ่งช่วง และเนื่องจากแสงเป็นตัวนำส่งข้อมูล ทำให้สัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าภายนอก ไม่สามารถรบกวนความชัดเจนของข้อมูลได้ ใยแก้วนำแสงจึงถูกนำมาใช้แทนตัวกลางอื่นๆในการส่งข้อมูล
4. เครือข่ายแบบดาว (Star Network)   เป็นวิธีการที่นิยมใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กเข้ากับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (Host Computer) ซึ่งจะใช้เป็นเครื่องศูนย์กลาง และต่อสายไปยังคอมพิวเตอร์หรือเทอร์มินัลตามจุดต่างๆ แต่ละจุดเปรียบได้กับแต่ละแฉกของดาวนั่นเอง
ในการต่อแบบนี้ คอมพิวเตอร์แต่ละตัวจะถูกต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางโดยตรง จึงไม่มีปัญหาการแย่ง การใช้สายสื่อสาร จึงทำให้มีการตอบสนอง
ที่รวดเร็วการส่งข้อมูลแต่ละสถานี (เครื่องคอมพิวเตอร์ย่อยๆ) ก็จะส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางก่อนแล้วตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางนี้จะเป็นผู้ส่งไป
ยังสถานีอื่นๆ การควบคุมการรับส่งภายในระบบทั้งหมดจะขึ้นอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางดังนั้นถ้าเครื่องศูนย์กลางมีปัญหาขัดข้องก็จะทำให้
ระบบทั้งระบบต้องหยุดชะงักทันที
  5. เครือข่ายแบบวงแหวน (ring topology) 
เป็นลักษณะการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดเช่นเดียวกับแบบดาว โดยสถานีแต่ละสถานีจะต่อกับสถานีที่อยู่ติดทั้งสองข้างของตนเอง  และทุกสถานีมีเครื่องขยายสัญญาณของตัวเอง โดยจะมีการเชื่อมโยงเครื่องขยายสัญญาณของแต่ละสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน  สัญญาณข้อมูลจะส่งอยู่ในวงแหวนแบบจุดต่อจุดไปในทิศทางเดียวกันจนถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด โดยเครื่องขยายสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองหรือจากเครื่องขยายสัญญาณตัวก่อนหน้า  และส่งข้อมูลต่อไปยังเครื่องขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อย ๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด  เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้กับสถานีนั้น จึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าเป็นของตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป  อีกทั้งสามารถตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งด้วยโดยกรณีที่เครื่องรับปลายทางไม่ได้รับสัญญาณข้อมูลในเวลาที่กำหนด จะมีการแจ้งว่าเกิดความผิดพลาดในเครือข่ายได้  ข้อดีคือ ใช้สายเคเบิลน้อย และสามารถตัดเครื่องที่เสียออกจากระบบได้ ทำให้ไม่มีผลต่อระบบเครือข่าย ข้อเสียคือหากมีเครื่องที่มีปัญหาอยู่ในระบบจะทำให้เครือข่ายไม่สามารถทำงานได้เลย และการเชื่อมต่อเครื่องเข้าสู่เครือข่ายอาจต้องหยุดระบบทั้งหมดลงก่อน


 6.ระบบ 3G คืออะไร

คำตอบ เราคงเคยได้ยินคำว่า 3G มากันสักระยะหนึ่งแล้ว แต่หลายคนยังไม่เข้าใจอย่างถ่องแท้ว่าระบบ 3G ที่ได้ยินกันบ่อยๆนั้น คือ ระบบอะไร ดังนั้น ก่อนที่เราจะกล่าวถึงปัญหาของระบบ 3G ในประเทศไทย เรามาทำความรู้จักกันก่อนว่า ระบบ 3G หมายความว่าอย่างไร กล่าวคือ ระบบ 3G คือ ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุคที่สาม (Third Generation of Mobile Telephone – 3G) ซึ่งมี สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU (International Telecommunication Union) ซึ่งเป็นองค์กรชำนาญพิเศษแห่งสหประชาชาติ ทำหน้าที่ในการให้คำแนะนำตลอดจนวางหลักเกณฑ์ในบริหาร และการกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมให้กับประเทศต่างๆที่เป็นสมาชิกทั่วโลก โดยมีแนวทางในการวางหลักเกณฑ์ทางการบริหารทรัพยากรด้านโทรคมนาคมของแต่ละประเทศสมาชิก เพื่อให้เป็นไปแนวทางเดียวกัน
 7.Bus 
มีการรับส่งข้อมูลด้วยความเร็ว 10-100 MB/sจะเชื่อมต่อกันบนสายสัญญาณเส้นเดียวกัน โดยจะมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า T-Connector เป็นตัวแปลงสัญญาณข้อมูลเพื่อนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์และ Terminator ในการปิดหัวท้ายของสายในระบบเครือข่ายเพื่อดูดซับข้อมูลไม่ให้เกิดการสะท้อนกลับของสัญญาณ
 8.1G เริ่มตั้งแต่ 1G … ซึ่งเป็นยุคที่ใช้ระบบ Analog คือใช้สัญญาณวิทยุในการส่งคลื่นเสียง โดยไม่รองรับการส่งผ่านข้อมูลใดๆทั้งสิ้นซึ่งนั่นก็หมายความว่าสามารถใช้งานทางด้าน Voice ได้อย่างเดียว คือ โทรออก-รับสาย เท่านั้น ไม่มีการรองรับการใช้งานด้าน Data ใดๆ ทั้งสิ้น แม้แต่การรับ-ส่ง SMS ก็ยังทำไม่ได้ในยุค 1G แต่จริงๆแล้ว … ในยุคนั้น ผู้บริโภคก็ยังไม่มีความต้องการในการใช้งานอื่นๆ นอกจากเสียง (Voice) อยู่แล้ว โดยปริมาณผู้ใช้โทรศัพท์มือถือยังอยู่ในขอบเขตที่จำกัดมาก และจะพบว่าผู้ใช้มักจะเป็นนักธุรกิจที่มีรายได้สูงเสียส่วนใหญ่
9.   2G หลังจากนั้น ก็ได้พัฒนาต่อมาเป็นยุค 2G … ซึ่งเปลี่ยนจากการส่งคลื่นทางคลื่นวิทยุแบบ Analog มาเป็นการเข้ารหัส Digital ส่งทางคลื่น Microwave ซึ่งในยุคนี้เอง เป็นยุคที่เริ่มทำให้เราเริ่มที่จะสามารถใช้งานทางด้าน Data ได้ นอกเหนือจากการใช้งาน Voice เพียงอย่างเดียว ในยุค 2G นี้ … เราสามารถ รับ-ส่งข้อมูลต่างๆและติดต่อเชื่อมโยงได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดการกำหนดเส้นทางการเชื่อมกับสถานีฐาน หรือที่เรียกว่า cell site
และก่อให้เกิดระบบ GSM (Global System for Mobilization) ซึ่งทำให้เราสามารถถือโทรศัพท์เครื่องเดียวไปใช้ได้เกือบทั่วโลก หรือที่เรียกว่า Roaming ยุค 2G นี้ ถือเป็นยุคเริ่มต้นแห่งการเฟื่องฟูของโทรศัพท์มือถือเลย … ราคาของโทรศัพท์มือถือเริ่มต่ำลง (กว่ายุค 1G) ทำให้ปริมาณผู้ใช้โทรศัพท์มือถือมีมากขึ้น ซึ่งการส่งข้อมูลของยุค 2G นี้ เป็นยุคที่มีการเริ่มฮิต Download Ringtone , Wallpaper , Graphic ต่างๆ แต่ก็จะจำกัดอยู่ที่การ Downlaod Ringtone แบบ Monotone และ ภาพ Graphic ต่างๆก็เป็นเพียงแค่ภาพขาว-ดำที่มีความละเอียดต่ำเท่านั้น
10.ระบบ 4G จะให้ความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงถึง 1Gbps (1,000Mbps) ทำให้อุปกรณ์พกพาทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์มือถือแบบ Smartphone, tablet หรือ notebook computer สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ทด้วยความเร็วสูงอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน
ข้อดี
        1.ลดเวลาในการทำงานลง
        2.ประหยัดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
        3.ในความบันเทิงแก่ผู้ใช้งาน
        4.ใช้ค้นหาความรู้ได้
        5.ใช้เป็นสื่อในการเรียนการสอน
    ข้อเสีย
        1.ทำให้เกิดขยะของเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น
        2.ทำให้ไม่เกิดการออกกำลังกาย
        3.ทำให้มีการหลอกลวงเพิ่มขึ้น
        4.การใช้งานมากๆทำให้ลืมเทคโนโลยีสมัยเก่าลง
        5.มีการเปลี่ยนเทคโนโลยีไปมากทำให้ตามไม่ทัน

วันเสาร์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2562

รายชื่อสมาชิกในห้อง การจัดการ A

ชื่อ-สกุล                                                           ชื่อเล่น



                        
อาจารย์ ธภัทร             ชัยชูโชค                             อาจารย์ปาล์ม
นางสาว กนกพร           อิสสะโร                                  กิฟ
นางสาว กัญญาณัฐ      หนูแก้ว                                     มีน
นาย เกียรติศักดิ์           พูลสวัสดิ์                                  ต้น
นาย จักเรศ                   เจริญผล                                 จักร
นางสาว จิรนันนท์         ม้องพร้า                                 กิม
นางสาว เจนจิรา           แก้วมุณี                                   เจน
นาย ชลธวัช                 นัคราบัณฑิต                           เบนซ์            
นาย ชูเกียรติ                กาโร                                      ธันวา             
นาย ณรงค์กร              หนูเสน                                    น็อต              
นางสาว ณัชชา            ชำนาญ                                    ฟาง              
นาย ณัฐพล                 โตอุ่นเพ็ชร                             แด๊กซ์           
นาย ธนายุทธิ์              พงศ์สิริวรกุล                           ไอซ์             
นางสาว ธัญญสรณ์     แก้วเกลี้ยง                               เฟิร์น             
นางสาว นลัทพร         ทองใหญ่                                 เก็น              
นาย นิติพัฒน์              สุขเกิด                                     แบงค์            
นางสาว พัชรีสานส์    ชาลีเคลือ                                  แก้ม              
นางสาว ภัทรภรณ์      อภินันท์สวัสดิ์                         แนท              
นางสาว มณีนุช          มุงคุณแสน                               นุช                
นางสาว ยุวดา             ชูแก้ว                                       กิ๊ก                
นาย วรพงศ์                 ชุมประยูร                               เก่ง                
นาย วุฒิกร                  สุนทรภักดี                              ทิว                
นาย ศักดา                   สนละ                                      บี                 
นาย สหรัตน์               ขวัญสุด                                   โจ                
นาย สุชาติ                   ตระกูลไชยพฤกษ์                  เล็ก              
นาย เสกสรรค์             เสริมศิลป์                              บ่าว             
นางสาว หาสนี            สาเม๊าะ                                  บ๊ะ                
นาย อรรถนนท์           นนทพันธ์                             โจ้                
นางสาว อัจฉราภรณ์   เต็มราม                                 แอน              
นางสาว พัชยา             มะกะ                                   ก้อย              
นางสาว ภาวดี             หลีหมัด                               มาร์

ประวัติส่วนตัว วิชชากร ชิตเชี่ยว

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ นาย วิชชากร ชิตเชี่ยว

รหัสนักศึกษา 605705028

เบอร์โทร 091-0464084

Facebook wilchakorn Chitchaew

สิ่งที่ชอบ สะสมของที่ระลึก

เพลงที่ชอบ คุกกี้เสี่ยงทาย

คติประจำใจ ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น